|
ขอบเขตการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
1. วิเคราะห์และเปรียบเทียบกฎหมาย มาตรฐาน และกลไกที่ใช้อยู่ในปัจจุบันของ
|
|
|
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ที่เกี่ยวกับการจัดเก็บ/ติดตามซากผลิตภัณฑ์และกาก
|
|
|
อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การรีไซเคิลซากและกาก
|
|
|
อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นไปยังโรงงานคัดแยก
|
|
|
โรงงานรีไซเคิล และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง การรับรองวัสดุทั้งที่เป็นภาคบังคับ หรือ
|
|
|
ด้วยความสมัครใจ และที่เป็นมาตรการจูงใจ ตลอดจนมาตรฐานที่อุตสาหกรรม
|
|
|
เกี่ยวเนื่องกำหนดสำหรับวัสดุที่ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและ
|
|
|
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
|
|
|
2. รวบรวมการศึกษาของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับวัสดุหมุนเวียนวัสดุ รีไซเคิล
|
|
|
พร้อมทั้งนำเสนอผลสรุปและข้อเสนอแนะของรายงานการศึกษาต่างๆที่เป็นประโยชน์
|
|
|
และเกี่ยวข้องกับการศึกษาในโครงการนี้
|
|
|
3. สำรวจข้อมูล หาอายุการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย
|
|
|
5 ชนิด โดยสำรวจจากผู้บริโภค และผู้ประกอบการ
|
|
|
4. ศึกษาผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 5 ชนิดและ
|
|
|
ประเภทวัสดุที่เป็นองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
|
|
|
ดังกล่าว ที่ในปัจจุบันมีการรีไซเคิลอย่างแพร่หลาย และวัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้
|
|
|
พร้อมทั้งข้อจำกัดในการรีไซเคิลและอุตสาหกรรมที่ใช้วัสดุรีไซเคิลเหล่านี้ได้รีไซเคิลได้
|
|
|
รวมถึงสำรวจปริมาณสัดส่วนกากอุตสาหกรรมที่ถูกรีไซเคิลและผล (Yield) ของ
|
|
|
การรีไซเคิลวัสดุแต่ละประเภทในประเทศไทย
|
|
|
5. รวบรวมข้อมูลเทคโนโลยีการรีไซเคิลวัสดุแต่ละประเภทในประเทศไทย
|
|
|
6. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop)เกี่ยวกับการเรียกซากกลับคืน การส่งเสริม
|
|
|
การนำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ การให้การรับรองสัดส่วนวัสดุรีไซเคิลการวัดความสัมฤทธิ์ผล
|
|
|
กฎระเบียบต่างๆ เช่นกฎระเบียบ WEEE ของสหภาพยุโรปและกฎระเบียบของ
|
|
|
Home Appliance Recycling Law ของประเทศ ญี่ปุ่น เป็นต้นให้แก่เจ้าหน้าที่
|
|
|
กรมโรงงานอุตสาหกรรมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผู้ประกอบการอุตสาหกรรมผลิต
|
|
|
เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรมรีไซเคิลชิ้นส่วนอุปกรณ์
|
|
|
เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 50 คน
|
|
|
|