การศึกษาและสำรวจข้อมูล
การสำรวจข้อมูลผู้บริโภค ทำโดยการสำรวจด้วยแบบ-สอบถาม จากประชาชนในแต่ละชุมชนท้องถิ่นรวมถึงสถานประกอบการ องค์กร ห้างร้าน จำนวน 1,600
การอบรมเชิงปฏิบัติ-การ
เรื่อง "แนวทางการจัดการซากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์สำหรับประเทศไทย" วันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2550 ณ ห้องประชุม 509 ชั้น 5 อาคารกรมโรงงานอุตสาหกรรม
           
การวิเคราะห์เปรียบเทียบกฎหมาย มาตรฐาน และกลไก
การเปรียบเทียบการจัดการซากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศเบลเยี่ยม สวีเดน เยอรมนี โปแลนด์ จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น
           
ผลการรวบรวมการศึกษาของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผลการรวบรวมการศึกษาของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับวัสดุหมุนเวียน วัสดุรีไซเคิล
           
เทคโนโลยีการรีไซเคิลในประเทศและต่างประเทศ
           
การศึกษาผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
           
สรุปผลการอบรมเชิงปฎิบัติการ
           
สรุปผลการจัดสัมมนา เรื่องระบบฐานข้อมูลการติดตามซากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
           
การสำรวจข้อมูลซากอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แนวคิด มาตรการ และกลไกเรียกคืนซาก
           
เทคโนโลยีการรีไซเคิลวัสดุ
           
เอกสารประกอบการสัมมนา
           
Presentation ประกอบการสัมมนา
           
กระดานสนทนา


ขอบเขตการดำเนินงาน (ต่อ)

           7. วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในเชิงเทคโนโลยีและเชิงเศรษฐศาสตร์และรูปแบบในการ
               พัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการนำวัสดุหมุนเวียนจากซากและกากอุตสาหกรรม
               เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ใหม่ในผลิตภัณฑ์ใหม่ 

           8. ศึกษาดูงาน เกี่ยวกับการเรียกซากกลับคืน การส่งเสริมการนำวัสดุกลับมาใช้ใหม่
               การให้การรับรองสัดส่วนวัสดุรีไซเคิล การวัดความสัมฤทธิ์ผล ข้อจำกัด ปัญหา อุปสรรค
               และแนวทางแก้ไขในการดำเนินการตามกฎระเบียบต่างๆ เช่น กฎระเบียบ WEEE
               ของสหภาพยุโรป หรือกฎระเบียบของ Home Appliance Recycling Law ของ
               ประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ให้แก่เจ้าหน้าที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่
               เกี่ยวข้อง จำนวน 13 คน เป็นเวลา 10 วัน และให้แก่ระดับผู้บริหาร จำนวน 4 คน
               เป็นเวลา 5 วัน

           9. เสนอมาตรการและกลไกการเรียกคืนซากที่เหมาะสมกับประเทศไทย โดยใช้หลักการ
               การขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility)

         10.  ศึกษาผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 5 ชนิด
                และเสนอรูปแบบมาตรการและกลไกในการส่งเสริมการเพิ่มปริมาณการใช้ซ้ำวัสดุกาก
                อุตสาหกรรม  ซากอุปกรณ์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อย่างน้อย 5 ประเภทและการ
                รับรองการนำวัสดุที่ใช้แล้วไปใช้ในผลิตภัณฑ์้ใหม่ที่เหมาะสมกับประเทศไทย
                ทั้งนี้ร่างและแนวทางข้อเสนอแนะต้องสามารถขยายผลไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมและ
                ผลิตภัณฑ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ด้วย

         11. ออกแบบและจัดทำระบบงานในการติดตามวงจรชีวิตซากผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและ
                อิเล็กทรอนิกส์ พร้อมทั้งประยุกต์หรือจัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็น (Hardware) และ
                โปรแกรมใช้งาน(Software) ที่เหมาะสม โดยระบบงานต้องมีความเชื่อมโยงกัน
                ระหว่างข้อมูลโรงงาน  ข้อมูลการนำกากออกนอกโรงงาน  การเก็บรวบรวมซาก
                การคัดแยก การรีไซเคิล และการนำกลับมาเป็นวัตถุดิบใหม่และต้องมีระบบที่อำนวย
                ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ข้อมูลเหล่านี้ได้ด้วย

         12. พัฒนาระบบการแจ้งข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์  ฐานข้อมูลการติดตามซาก และการ
                ประมวลผลข้อมูล

                และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับระบบการติดตามวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า
                และอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 2 ครั้งโดยต้องมีผู้เข้าร่วมสัมมนารวมแล้วไม่ต่ำกว่า 250 คน
                ทั้งนี้ที่ปรึกษาจะต้องเป็นผู้จัดเตรียมและรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการสัมมนา
                โดยจะต้องประสานงานและได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
                 ก่อนการจัดประชุมสัมมนา

  Prev Page  Next Page       
(โครงการนี้้อยู่ระหว่างการศึกษา อาจมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลตามความเหมาะสม)